วันจันทร์ที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

สายการบินระหว่างประเทศ รึรู้เรื่อง





สายการบินระหว่างประเทศ รึรู้เรื่อง

สายการบินจุดหมายปลายทาง
ชื่อไทยชื่ออังกฤษ
กัลฟ์แอร์ (GF)Gulf Airบาห์เรน, ริยาร์ด
กาตาร์แอร์เวย์ (QR)Qatar Airwaysโดฮา , ฮานอย
การบินไทย (TG)Thai Airways Internationalกว่างโจว, กัวลาลัมเปอร์, กาฐมาณฑุ, การาจี, โกลกาตา, คุนหมิง, โคเปนเฮเกน, จาการ์ตา-ซูการ์โน-ฮัตตา, โจฮันเนสเบิร์ก, เจนไน, เฉิงตู, ซัปโปะโระ, ซิดนีย์, ซูริก, เซ็นได , เซียะเหมิน, เซี่ยงไฮ้-ผู่ตง, โซล-อินช็อน, ดูไบ, เดนปาซาร์, เดลี, โตเกียว-นะริตะ, โตเกียว-ฮะเนะดะ, ไทเป-เถาหยวน, ธากา, นะโงะยะ, บริสเบน, บรัสเซลส์, มังคาลอร์, ปักกิ่ง-แคพิทอล, ปารีส-ชาร์ล เดอ โกล, ปีนัง, ปูซาน, พนมเปญ, เพิร์ท, แฟรงก์เฟิร์ต, ฟุกุโอะกะ, มอสโก, มะนิลา, มัสกัต, มิลาน, มิวนิก, มุมไบ, เมลเบิร์น, มาดริด, ย่างกุ้ง, โรม-ฟีอูมีชีโน, ลอนดอน-ฮีทโธรว์, ลอสแอนเจลิส, ลาฮอร์, เวียงจันทน์ , เวียนนา (เริ่ม 26มกราคม 2557), สตอกโฮล์ม-อาร์ลันดา, สิงคโปร์, ออกแลนด์, ออสโล, อิสลามาบัด, โอซะกะ, ฮ่องกง, โฮจิมินห์ซิตี, ไฮเดอราบาด, ฮานอย ,
เฉพาะฤดู คยา, พาราณสี
การบินไทยสมายล์(TG)Thai Smile Airwaysมาเก๊า,อาเมดาบัตเชียงใหม่,หลวงพระบางม,ฉงชิ่ง,ฉางซา,โคลอมโบ,เวียงจันทน์
การบินลาว (QV)Lao Airlinesหลวงพระบาง, เวียงจันทน์, สะหวันนะเขต, ปากเซ
การูดาอินโดนีเชีย (GA)Garuda Indonesiaจาการ์ตา-ซูการ์โน-ฮัตตา ,เมดาน ,บาหลี
คาเธย์แปซิฟิก (CX)Cathay Pacific Airwaysการาจี, โคลัมโบ, มุมไบ, สิงคโปร์, ฮ่องกง
เฉพาะฤดูกาล: เดลี
คูเวตแอร์เวย์ (KU)Kuwait Airwaysคูเวต, มะนิลา
เคแอลเอ็มรอแยลดัตช์แอร์ไลน์ (KL)KLM Royal Dutch Airlinesอัมสเตอร์ดัม
เคนยาแอร์เวย์ (KQ)Kenya Airwaysไนโรบี, ฮ่องกง, กว่างโจว
แควนตัส (QF)Qantas Airwaysซิดนีย์-คิงส์ฟอร์ดสมิท
โคเรียนแอร์ (KE)Korean Airโซล-อินช็อน , ปูซาน
จินแอร์ (LJ)Jin Airโซล-อินช็อน
จูนเยาแอร์ไลน์ (HO)Juneyao Airlinesเซี่ยงไฮ้-ผู่ตง
แจลเวย์ (JO)Jalwaysนะโงะยะ, โอซะกะ-คันไซ, โตเกียว-นะริตะ
เจแปนแอร์ไลน์ (JL)Japan Airlinesโตเกียว-นะริตะ, โตเกียว-ฮะเนะดะ, โอซะกะ
เจจูแอร์ (7C)Jeju Airโซล-อินช็อน, ปูซาน
เจ็ตสตาร์แอร์เวย์ (JQ)Jetstar Airwaysเมลเบิร์น
เจ็ตสตาร์เอเชียแอร์เวย์ (3k)Jetstar Asiaสิงคโปร์
เจ็ตแอร์เวย์ (9W)Jet Airwaysโกลกาตา, เดลี , มุมไบ
ไชน่าเซาเทิร์นแอร์ไลน์ (CZ)China Southern Airlinesกว่างโจว, ซัวเถา,เจิ้งโจว,หวู่ฮั่น,กุ้ยหลิน,หนานหนิง
ไชน่าอีสเทิร์นแอร์ไลน์ (MU)China Eastern Airlinesคุนหมิง, จิ่งหง, เซี่ยงไฮ้-ผู่ตง,
เฉพาะฤดู เหอเฝย์
ไชน่าแอร์ไลน์ (CI)China Airlinesเกาสง, ไทเป-เถาหยวน, อัมสเตอร์ดัม
เซบูแปซิฟิก (5J)Cebu Pacificเซบู , คลาร์ก, มะนิลา
เซี่ยงไฮ้แอร์ไลน์ (FM)Shanghai Airlinesเซี่ยงไฮ้-ผู่ตง
เซาท์อีส เอเซียน แอร์ไลน์ (FM)South East Asian Airlinesคล๊าก
เซินเจิ้นแอร์ไลน์ (ZH)Shenzhen Airlinesเซินเจิ้น
ดรุกแอร์ (KB)Druk Airธากา, บักโดกรา, พาโร, กูวาฮาตี
เดลต้า แอร์ไลน์ (DL)Delta airlinesโตเกียว-นะริตะ, ลอสแอนเจลิส
เตอร์กิชแอร์ไลน์ (TK)Turkish Airlinesอิสตันบูล-อาตาเติร์ก, โฮจิมินห์ซิตี
เติร์กเมนิสถานแอร์ไลน์ (T5)Turkmenistan Airlinesอาชกาบัต
ทีเว (TWB)T'Way Airlinesโซล-อินช็อน
ทรานส์แอโร (UN)Transaeroมอสโก-โดโมเดโดโว, มอสโก-ชเรเมเตียโว, เยคาเตรินเบิร์ก ,
เฉพาะฤดู โนโวซิบิร์สก์
ไทเกอร์แอร์เวย์ (TR)Tiger Airwaysจาการ์ตา-ซูการ์โน-ฮัตตา,สิงคโปร์
นอร์เวย์ริเจี้ยนแอร์ชัทเทิ้ล(DY)Norwegian Air Shuttleออสโล-การ์เดอร์มอน,สตอกโฮล์ม-อาร์ลันดา
นอร์ดวินด์แอร์ไลน์Nordwind Airlinesยาคุตสค์
บริติชแอร์เวย์ (BA)British Airwaysลอนดอน-ฮีทโธรว์
บางกอกแอร์เวย์ (PG)Bangkok Airwaysธากา, กุ้ยหลิน, พนมเปญ, มาเล, มุมไบ, ย่างกุ้ง, เวียงจันทน์ ,เสียมเรียบ,สิงคโปร์, หลวงพระบาง,ฮ่องกง
บิมานบังกลาเทศ (BG)Biman Bangladeshธากา
บิสิเนสแอร์ (8B)Business Airโซล-อินช็อน , ฉ่งชิ่ง
ปากีสถานอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ (PK)Pakistan International Airlinesอิสลามาบัต , ฮ่องกง
ฟินน์แอร์ (AY)Finnairเฮลซิงกิ
ฟิลิปปินส์แอร์ไลน์ (PR)Philippine Airlinesเดลี, มะนิลา ,อิสลามาบัต,ฮ่องกง
มาเลเซียแอร์ไลน์ (MH)Malaysia Airlinesกัวลาลัมเปอร์ , ปีนัง
มาฮานแอร์ (W5)Mahan Airเตหะราน-อิหม่ามโคไมนี, มัชฮัด
มันดาราแอรไลน์ (RI)Mandara Airlinesจากาตาร์
เมียนมาร์แอร์เวย์อินเตอร์เนชันแนล (8M)Myanmar Airways Internationalย่างกุ้ง
ยูไนเต็ดแอร์ไลน์ (UA)United Airlinesโตเกียว สนามบินนาริตะ , วอชิงตัน , ชิคาโก
รอแยลเนปาลแอร์ไลน์ (RA)Royal Nepal Airlinesกาฐมาณฑุ
รอแยลจอร์แดเนียน (RJ)Royal Jordanianอัมมาน, ฮ่องกง,กัวลาลัมเปอร์
รอแยลบรูไนแอร์ไลน์ (BI)Royal Brunei Airlinesบันดาร์เสรีเบกาวัน
ลาวเซ็นทรัลแอร์ไลน์ (LF)Lao Central Airlinesเวียงจันทน์
ลุฟท์ฮันซา (LH)Lufthansaกัวลาลัมเปอร์, แฟรงก์เฟิร์ต, โฮจิมินห์ซิตี
วลาดิวอสต๊อก แอร์ไลน์Vladivostok Airโซล-อินช็อน(ขาออก)
เวียดเจ็ตแอร์ไลน์ (VJ)Vietjet Airlinesฮานอย, โฮจิมินห์ซิตี
เวียดนามแอร์ไลน์ (VN)Vietnam Airlinesฮานอย, โฮจิมินห์ซิตี
ศรีลังกันแอร์ไลน์ (UL)Sri Lankan Airlinesโคลัมโบ, ปักกิ่ง, กวางโจว, เซี่ยงไฮ้, ฮ่องกง
สกู๊ต (TZ)Scootสิงคโปร์
สไปซ์เจ็ต (SG)SpiceJetบังคาลอร์
สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม (SK)Scandinavian Airlines Systemโคเปนเฮเกน
สวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ (LX)Swiss International Air Linesซูริก
สิงคโปร์แอร์ไลน์ (SQ)Singapore Airlinesสิงคโปร์
ไหหนานแอร์ไลน์ (HU)Hainan Airlinesไห่โข่ว,นานกิง,ปักกิ่ง
อูรัล แอร์ไลน์ (U6)Ural Airlineอิคุตส์
ออลนิปปอนแอร์เวย์ (NH) (เอเอ็นเอ)All Nippon Airways (ANA)โตเกียว-นะริตะ, โตเกียว-ฮะเนะดะ
ออสเตรียนแอร์ไลน์ (OS)Austrian Airlinesเวียนนา
อินเดียนแอร์ไลน์ (6E)Indigo Airlinesเดลี, มุมไบ
อีสตาร์ เจ็ท(ZE)Eastar Jetโซล-อินช็อน
อียิปต์แอร์ (MS)Egypt Airไคโร
อีวีเอแอร์ (BR)EVA Airไทเป (สนามบินเถาหยวน), ลอนดอน (สนามบินฮีทโทรว์), เวียนนา, อัมสเตอร์ดัม
อุซเบกิสถานแอร์เวย์ (HY)Uzbekistan Airwaysทาชเคนต์
เอเชียนาแอร์ไลน์ (OZ)Asiana Airlinesโซล-อินช็อน
เอติฮัดแอร์เวย์ (EY)Etihad Airwaysอาบูดาบี
เอธิโอเปียนแอร์ไลน์ (ET)Ethiopian Airlinesกว่างโจว, แอดดิสอาบาบา, ฮ่องกง
เอมิเรตส์ (EK)Emiratesซิดนีย์, ดูไบ, ฮ่องกง,ไครสต์เชิร์ช,แอดดิสอาบาบา
เอลอัล (LY)El Al Israel Airlinesเทลอาวีฟ
เอสเซเว่น แอร์ไลน์ (S7)S7 Airlinesอีคุตคส์, โนโวสิเบียร์สก์, คาบารอฟสค์, ครัสโนยาสค์
แอโรฟลอต (SU)AeroFlot Russian Airlineมอสโก-เชเรเมเตียโว
แอโรสวิตแอร์ไลน์ (VV)Aerosvit Airlinesเคียฟ-โบริสปิล
แอร์เจแปน (NQ)Air Japanโตเกียว-นะริตะ
แอร์ไชน่า (CA)Air Chinaปักกิ่ง-แคพิทอล
แอร์ฟรานซ์ (AF)Air Franceปารีส-ชาร์ลเดอโกล
แอร์มาเก๊า (NX)Air Macauมาเก๊า
แอร์มาดากัสการ์ (MD)Air Madagascarกว่างโจว, อันตานานาริโว
แอร์ออสทราล (UU)Air Australแซ็ง-เดอนี , เชนไน
แอร์อัสตานา (KC)Air Astanaอัลมาตี
แอร์อินเดีย (AI)Air Indiaเดลี, มุมไบ
โอเรียนท์ ไทย แอร์ไลน์ (OX)Orient Thai Airlinesฮ่องกง,โซล
โอมานแอร์ (WY)Oman Airมัสกัต

สายการบินภายในประเทศ[แก้]

สายการบินจุดหมายปลายทาง
การบินไทย (TG)กระบี่, เกาะสมุย, ขอนแก่น, เชียงราย, เชียงใหม่, ภูเก็ต, หาดใหญ่
การบินไทยสมายล์ (TG)กระบี่ ,ขอนแก่น, เชียงราย, เชียงใหม่, ภูเก็ต, หาดใหญ่, สุราษฎร์ธานี ,อุดรธานี ,อุบลราชธานี
บางกอกแอร์เวย์ (PG)กระบี่, เกาะสมุย, เชียงราย (เริ่ม 28 มี.ค.57), เชียงใหม่, ตราด, ภูเก็ต, สุโขทัย, ลำปาง, อุดรธานี
แฮปปี้แอร์ (HPY)ระนอง
ไทเกอร์แอร์เวย์ (TR)บุรีรัมย์

บริการเช่าเหมาลำ[แก้]

สายการบินจุดหมายปลายทาง
แอร์ฟินแลนด์เฮลซิงกิ
แอร์อิตาลีโปลสกาวอร์ซอ (ตามฤดูกาล)
ฟินน์แอร์เฮลซิงกิ
ฟลายแอลเอแอล ชาร์เตอร์วิลนีอุส
สายการบินนอร์ทไวนด์คาบารอฟสค์, วลาดีวอสตอค
ทราเวลเซอร์วิสปราก
ทียูไอฟลายนอร์ดิก
สมาร์ทลิงซ์ แอร์ไลน์ริกา

ขนส่งอากาศยาน[แก้]

สายการบินจุดหมายปลายทาง
ชื่อไทยชื่ออังกฤษ
แอร์ฮ่องกง(Air Hong Kong)ฮ่องกง
แอร์นิปปอนแอร์เวย์(ANA Cargo)โอะกินะวะ, ไทเป
แอร์คาดิ๊ก(Cardig Air)ฮ่องกง, จาการ์ตา, สิงค์โปร์
คาร์โกลักซ์(Cargolux)เซี่ยงไฮ้, บากู, เซียะเหมิน ,ลักเซมเบิร์ก
ไชน่าแอร์ไลน์(China Airline)ไทเป, เซี่ยงไฮ้ , เฉิงตู
เฟดเอกซ์(FedEx Express)กว่างโจว
เจแปนแอร์ไลน์คาร์โก(Japan Airlines Cargo)สิงคโปร์
เจ็จเอ๊กแอร์ไลน์คาร์โก(Jett8 Airlines Cargo)สิงคโปร์
เคแอลเอ็ม(KLM Cargo)ไทเป, อัมสเตอร์ดัม (ขนส่งผู้โดยสารและสินค้า)
เค-ไมแอร์(K-Mile Airline Cargo)โฮจิมินห์ซิตี, สิงคโปร์
แอร์โคเรียน คาร์โก(Korean Airline Cargo)โซล-อินชอน
ลุฟท์ฮันซา(Lufthansa Airline Cargo)ชาร์จาห์, แฟรงก์เฟิร์ต, มุมไบ
มาร์ตินแอร์คาร์โก(Martinair Cargo)สิงคโปร์, อัมสเตอร์ดัม
นิปปอนคาร์โกแอร์ไลน์(Nippon Cargo Airlines)สิงคโปร์, โตเกียว นะริตะ
ซาอุดิอาระเบียนแอร์ไลน์คาร์โก(Saudi Arabian Airlines Cargo)กว่างโจว, เซี่ยงไฮ้-ผู่ตง, เจดดะห์, ริยาด
เซี่ยงไฮ้แอร์ไลน์คาร์โก(Shanghai Airlines Cargo)สิงคโปร์, เซี่ยงไฮ้
สิงคโปร์แอร์ไลน์(Singapore Airlines Cargo)เจนไน, มุมไบ, สิงคโปร์, โตเกียว (นะริตะ)
การบินไทย(Thai Airway International Cargo)โตเกียว (นะริตะ), อัมสเตอร์ดัม , แฟรงก์เฟิร์ต , ซิดนีย์
ไท เอ็มจี อินทราเอเซียแอร์ไลน์(Tri-MG Intra Asia Airlines)โฮจิมินห์ซิตี, พนมเปญ
แยงซีเกียงเอ็กเพลส(Yangtze River Express)เซี่ยงไฮ้-ผู่ตง
ยันดาแอร์ไลน์(Yanda Airlines)โคอิมบาโตร์, ปูเน, เซี่ยงไฮ้, โซล, โตเกียว, เดลี

ผลการดำเนินงาน[แก้]

รางวัลและการจัดอันดับ[แก้]

ผลการดำเนินงานของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ได้รับรางวัลและการจัดอันดับดังต่อไปนี้[37]:

รางวัลบริการดีเด่น[แก้]

  • พ.ศ. 2551 – อันดับที่ 5 รางวัลบริการดีเด่น ประเภทท่าอากาศยานขนาดใหญ่ซึ่งรองรับผู้โดยสารมากกว่า 40 ล้านคนต่อปี ประจำปี พ.ศ. 2551 จากโครงการจัดอันดับท่าอากาศยานที่ให้บริการดีเด่นประจำปี พ.ศ. 2551 ของสภาท่าอากาศยานสากล (ACI) [38]
  • พ.ศ. 2552 – อันดับที่ 3 ของโลก ประเภทดีเด่นด้านอาหารประจำปี พ.ศ. 2552 จาก SKYTRAX
  • พ.ศ. 2553 – อันดับที่ 5 รางวัลบริการดีเด่น ประเภทท่าอากาศยานขนาดใหญ่ซึ่งรองรับผู้โดยสารมากกว่า 40 ล้านคนต่อปี ประจำปี พ.ศ. 2553 จากโครงการจัดอันดับท่าอากาศยานที่ให้บริการดีเด่นประจำปี พ.ศ. 2553 ของสภาท่าอากาศยานสากล (ACI) [39]
  • พ.ศ. 2555 – อันดับที่ 5 รางวัลบริการดีเด่น จากการสำรวจความพึงพอใจผู้ใช้บริการสนามบินสำรวจโดยเว็บไซด์ Agoda.com บริษัทผู้ให้บริการเว็บไซต์สำรองห้องพักในโรงแรมแบบออนไลน์[40]

รางวัลท่าอากาศยานดีเด่น SKYTRAX[แก้]

เฉพาะปีที่ได้รับการจัดลำดับที่ 1 ถึง 25
  • พ.ศ. 2552 – อันดับที่ 16 ประเภท The World's Best Airports ประจำปี พ.ศ. 2552 จาก SKYTRAX
  • พ.ศ. 2553 – อันดับที่ 10 ประเภท The World's Best Airports ประจำปี พ.ศ. 2553 จาก SKYTRAX นับเป็นปีแรกที่ติด 10 อันดับโลก จาก SKYTRAX
  • พ.ศ. 2554 – อันดับที่ 13 ประเภท The World's Best Airports ประจำปี พ.ศ. 2552 จาก SKYTRAX
  • พ.ศ. 2555 – อันดับที่ 25 ประเภท The World's Best Airports ประจำปี พ.ศ. 2552 จาก SKYTRAX
  • พ.ศ. 2556 - อันดับที่ 38 ประเภท The world's Best Airports ประจำปี พ.ศ. 2556 จาก SKYTRAX[41]

รางวัลท่าอากาศยานดีเด่นจากผลลงคะแนนทั่วไป[แก้]

  • พ.ศ. 2551 – อันดับที่ 3 ประเภทท่าอากาศยานดีเด่นของโลก จากผลโหวต ประจำปี พ.ศ. 2551 ของนิตยสารท่องเที่ยวของประเทศอังกฤษ Wanderlust
  • พ.ศ. 2552 – อันดับที่ 3 ประเภทท่าอากาศยานดีเด่นของโลกจากผลโหวต ประจำปี พ.ศ. 2552 ของนิตยสาร Smart Travel ท่องเที่ยวออนไลน์ Smarttravelasia.com
  • พ.ศ. 2555 – อันดับที่ 1 ประเภทอันดับสถานที่ยอดนิยมที่มีการถ่ายภาพแล้วแบ่งปันผ่านอินสตาแกรมมากที่สุดในโลก[42]
  • พ.ศ. 2556 – อันดับที่ 1 ประเภทท่าอากาศยานที่เป็นมิตรกับชาวมุสลิมและอิสลามมากที่สุดในโลกCrescentrating's Halal Friendly Travel (CRaHFT) Ranking 2013 Top Halal Friendly Airports for 2013 non-OIC category[43]

ปัญหาหลังจากเปิดให้บริการ[แก้]

ปัญหาจากการบริการ[แก้]

  • ปัญหาการจราจรเข้าสู่สนามบิน - ปัญหานี้เกิดเนื่องจากขาดการประสานงานด้านประชาสัมพันธ์ที่พอเพียง ต่อมา ทอท. ได้ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ประชาสัมพันธ์ และติดป้ายบอกทางทั่วกรุงเทพฯ และบริเวณทางด่วน
  • ปัญหาสายพานรับส่งกระเป๋า ทำให้เกิดความล่าช้า และสูญหายของกระเป๋า ในระยะสัปดาห์แรกของการให้บริการ มีกระเป๋าตกค้าง และล่าช้าอยู่ราว 6000 ใบ
  • ปัญหาจำนวนห้องน้ำไม่พอ[44] - ปัญหานี้ภายหลังได้มีการแก้ไขโดยมีโครงการก่อสร้างห้องน้ำเพิ่มเติม[45] โดยนายโชติศักดิ์ อาสภวิริยะ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ทอท. ได้สั่งการให้ทางท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (ทสภ.) ใช้งบประมาณเร่งด่วนของปี 2550 จำนวนประมาณ 40 ล้านบาท มาสร้างห้องน้ำทั้งภายในอาคารผู้โดยสารและนอกอาคารเพิ่มอีก 20 จุด รวม 205 ห้อง (ห้องน้ำชาย 95 ห้อง และห้องน้ำหญิงอีก 110 ห้อง) [44]
  • ปัญหาการประชาชนจำนวนมากเข้ามาเที่ยวชม - ทำให้เกิดความแออัด จราจรติดขัด และไม่สามารถให้บริการได้อย่างทั่วถึง ร้านอาหารราคาแพงและไม่เพียงพอ ซึ่งทาง ทอท.ได้แก้ปัญหาโดยใช้เงินลงทุนประมาณ 15 ล้านบาทในการก่อสร้าง ร้านอาหารราคามิตรภาพ บริเวณอาคารเทียบเครื่องบิน A และ G อีกแห่งละจุดรวมเป็น 2 จุด แต่ละจุดจะมีห้องน้ำ 25 ห้อง จะมีการก่อสร้างร้านอาหารที่บรรจุคนได้ 500 ที่นั่ง ส่วนที่บริเวณศูนย์การขนส่งสาธารณะจะก่อสร้างห้องน้ำเพิ่มเติมอีก 25 ห้อง ห้องอาบน้ำ 10 ห้อง พร้อมทั้งที่พักและร้านอาหารราคาถูก 500 ที่นั่ง[44]
  • ปัญหาสายการบินต้นทุนต่ำมีค่าใช้จ่ายสูงเกินกว่าที่คาดการณ์ไว้ - ลงทุนที่สุวรรณภูมิไม่คุ้ม ทำให้เกิดการร้องเรียนที่จะกลับไปใช้สนามบินดอนเมือง [46]
  • ปัญหาความปลอดภัย จำนวนเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยไม่พอเพียง เนื่องจากพื้นที่กว้างใหญ่ของสนามบิน และมีกรณีร้องเรียนของพนักงานและเจ้าหน้าที่หญิงที่ถูกคุกคาม[47]
  • ปัญหาความคับคั่งและปัญหาสั่งสมอื่นที่ต้องพิจารณา - เนื่องจากความเสียหายหลายจุดที่ทางวิ่งใกล้คอนคอร์สอี ด้านทิศตะวันออก จำเป็นต้องมีการปิดซ่อมสนามบินสุวรรณภูมิบางส่วน ทำให้เกิดการจราจรที่คับคั่งภายในสนามบินและเครื่องบินต้องวนคอยเพราะไม่สามารถลงจอดได้ เช่น เหตุการณ์เครื่องบินสายการบินไทยน้ำมันหมด ต้องลงจอดฉุกเฉินแต่เติมน้ำมัน ที่สนามบินอู่ตะเภาเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2550 และที่ประชุมของกรรมการบอร์ด ทอท.ให้ทำการซ่อมผิวทางขับที่เป็นปัญหา ในคืนวันที่ 26 มกราคม 2550 และก่อนหน้านั้นได้มีมติให้เที่ยวบิน pint-to-point ที่เป็นสายในประเทศ สามารถย้ายกลับมาใช้สนามบินดอนเมืองได้ตามความสมัครใจ โดยเริ่มตั้งแต่ 15 มีนาคม 2550 เป็นต้นไป มีความเห็นหลากหลายทั้งที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยหลายฝ่าย[48]
  • ปัญหาสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อคนพิการไม่พอเพียงและไม่เหมาะสม ได้แก่ ห้องน้ำ ทางลาด สัญญานเสียง ป้ายอักษรแบรลล์ ไม่มีเจ้าหน้าที่ช่วยเหลือ จนนายณรงค์ ปฏิบัติสรกิจ ประธานมูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย และพ.ต.ศิริชัย ทรัพย์ศิริ นายกสมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล ได้ออกมาเรียกร้อง ผ่านทางน.ส.กัญจนา ศิลปอาชา ประธานคณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคม สภาผู้แทนราษฎร[49][50]

ปัญหาด้านสิ่งปลูกสร้าง[แก้]

  • ปัญหาหลังคารั่ว[44] - ขณะฝนตกหนักในช่วงวันเปิด ได้เกิดหลังคารั่ว จากการชี้แจงของผู้เกี่ยวข้องว่าเกิดการรอยต่อที่ยาซิลิโคนไว้หลุดร่อน และได้ทำการแก้ไขเฉพาะหน้าไปโดยการใช้ถังรองน้ำฝนที่รั่ว และให้ช่างยาแนวรอยรั่วในวันต่อมา
  • ปัญหาคาร์โก - เกิดการติดขัดของการออกของที่ส่วนคาร์โก เนื่องจากความไม่พร้อม ในส่วนของการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ โดยเฉพาะจากผู้ประกอบการรายใหม่อย่างบริษัทบางกอก ไฟลท์ เซอร์วิสเซส จำกัด หรือ BFS จนทำให้บรรดาตัวแทนออกของ (ชิปปิ้ง) ลุกขึ้นมาโวยจนเป็นเรื่องราวใหญ่โต กรณีนี้บีเอฟเอสถูกระบุว่าไม่เป็นมืออาชีพพอที่จะเข้ามาให้บริการคลังสินค้าและขนถ่ายสินค้า จนทำให้มีสินค้าตกค้างอยู่ในโกดังไม่สามารถนำออกมาได้เป็นจำนวนมาก[51]
  • ปัญหาพื้นทางวิ่งร้าว ทรุด - วันที่ 24 ต.ค. ผู้บริหารบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) หรือทอท. ได้ทำหนังสือถึงสายการบินทุกแห่ง เพื่อแจ้งให้ทราบว่า ได้ปิดปรับปรุงทางวิ่ง-ทางขับ (แท็กซี่เวย์) บริเวณที 13 ซึ่งเป็นลานจอดเครื่องบินบริเวณ อี 4-อี 8 และแท็กซี่เวย์บริเวณบี โดยเป็นช่วงระหว่างแท็กซี่เวย์ซี 4 และซี 5 หรือตรงกับรันเวย์ 19 ด้านซ้ายของสนามบินสุวรรณภูมิ เนื่องจากเกิดการทรุดตัว ซึ่งหากเครื่องบินใช้พื้นที่ดังกล่าวแท็กซี่เวย์เพื่อเข้าหลุมจอดมากเกินไป อาจทำให้เกิดอันตรายได้ เพราะถ้าก้อนหิน หรือคอนกรีตปลิวเข้าไปในใบพัดเครื่องบิน โดยที่กัปตันไม่ทราบอาจทำให้เครื่องบินเกิดอุบัติเหตุได้[52][53]
  • ปัญหาทางเทคนิคสถาปัตยกรรมและวิศวกรรมของอาคารและทางวิ่งกว่า 60 รายการ เช่น น้ำซึมใต้บริเวณ Taxi way, ระบบไฟฟ้าให้แสงสว่างภายในอาคารไม่พอ, สาย 400 Hz เพื่อส่งไฟให้เครื่องบินสั้นเกินไป, ระบบเครื่องปรับอาคารเย็นไม่พอ, วัสดุไม่ได้มาตรฐาน เช่น กระจก temper laminated ของบานประตูหมุน, จำนวนห้องน้ำต่อพื้นที่ใช้สอย, ภาพลักษณ์ที่เป็นลบในสายตาประชาชนส่วนใหญ่, การปะปนของคนงานก่อสร้างภายในอาคาร, สนามบิน ไม่มีแบบก่อสร้าง และ AS BUILT DRAWING, เกิดอุบัติเหตุกับคนข้ามถนนภายในบริเวณสนามบิน, ระบบ ITภายในอาคารยังใช้งานไม่ได้ 100 %, ระบบป้ายที่ไม่เป็นเอกภาพ, รถเข็นกระเป๋า ไม่เพียงพอ, ความไม่พร้อมของทางหนีภัย ในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน, ความไม่พร้อมของบุคลากร ในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน,สนามบินไม่คำนึงถึงผู้พิการ, ฯลฯ[54]
  • ปัญหาท่อน้ำประปาแตกและน้ำนองลงมาในอาคารผู้โดยสาร ทำความเสียหายให้กับกระเป๋า และสำนักงานศุลกากร สร้างความตกตะลึงให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการสนามบินจำนวนมาก เมื่อ 11 น. ของวันที่ 27 มกราคม 2550[55]
  • ปัญหาอื่นๆ ที่ตรวจพบโดยพรรคประชาธิปัตย์ - นายอลงกรณ์ พลบุตร รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ได้แถลงเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2550 ว่า จากการตรวจสอบในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ พบจุดอันตรายเพิ่มอีก 2 จุด และอาจส่งผลกระทบต่อการเป็นศูนย์กลางการบินของเอเชียได้ คือ 1) อาคารสินค้าเขตปลอดอากรที่ไม่ มีการถมทรายในชั้นรากฐาน และการก่อสร้างหลังคาที่ไม่ได้มาตรฐาน อาจพังลงมาได้ทุกเวลา และ 2) อาคารผู้โดยสารหลัก ที่อาจเกิดการทรุดตัวของอาคาร โดยพบว่ากระจกด้านริมอาคารเริ่มจะปริแตกออก[55]

ปัญหาด้านกฎหมาย[แก้]

  • ปัญหาการผิดกฎหมายพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมการงานและดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 หรือกฎหมายร่วมทุน ของสัมปทานพื้นที่ร้านค้าของ บริษัทคิงพาวเวอร์ - มติของ บอร์ด ทอท. เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2550 ได้ระบุว่ารายละเอียดของสัญญาสัมปทานของบริษัท คิง เพาเวอร์ ในส่วนของสัญญาการประกอบกิจการร้านค้าปลอดภาษีและสัญญาการบริหารพื้นที่เชิงพาณิชย์ภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ทั้ง 2 สัญญาที่คิง เพาเวอร์ทำกับ ทอท.นั้น เป็นการดำเนินการที่ขัดต่อกฎหมายร่วมทุน เนื่องจากงานในแต่ละสัญญาน่าจะมีวงเงินในการลงทุนมากกว่า 1 พันล้านบาท ซึ่งจะเข้าข่ายกฎหมายร่วมทุน แต่ไม่ได้ดำเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายร่วมทุน[56]
  • ปัญหาเกี่ยวกับความผิดเกี่ยวกับกฎหมายควบคุมอาคาร - ทางบริษัทผู้ออกแบบ คือ บริษัทกิจการร่วมค้าเมอร์ฟี่ จาห์น แทมป์ แอนด์ แอ๊ค (เอ็มเจทีเอ) ผู้ออกแบบอาคารที่พักผู้โดยสารและอาคารเทียบเครื่องสนามบินสุวรรณภูมิ ได้แถลงชี้แจงข้อเท็จจริง เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2550 โดยยอมรับว่า การออกแบบอาคารอาจจะผิด พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร คือทางหนีไฟที่ประตูมีการล็อก และห้องน้ำจำนวนน้อยเกินไป[57]
  • ปัญหาจากการที่กรมการขนส่งทางอากาศ (ขอ.) ไม่ได้มีการต่ออายุใบอนุญาตชั่วคราวทำการบินของสนามบินสุวรรณภูมิ ซึ่งหมดอายุลง และไม่ได้ต่ออายุเนื่องจากการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่หลายส่วนในสนามบินตามคู่มือที่เรียกว่า Aerodrome Operation Manual ขององค์กรการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ไอซีโอ) ยังไม่มีความสัมพันธ์กัน ปัญหานี้ทำให้เกิดความไม่เชื่อมั่นในการใช้สนามบิน[55]
  • ปัญหาจากการที่ประชาชนจำนวนหนึ่งไปร้องต่อศาลปกครองเพื่อให้มีคำสั่งระงับการบินในเวลากลางคืนและจ่ายค่าชดเชย[58]

การคมนาคมที่เกี่ยวข้องกับท่าอากาศยาน[แก้]

เส้นทางเข้า-ออกท่าอากาศยานสุวรรณภูมิทั้งหมด 6 เส้นทาง:
(1) - (5) เป็นทางเข้า-ออกสำหรับรถยนต์ รถแท็กซี่ รถโดยสาร และแอร์พอร์ตเอกซ์เพรส
(6) เป็นทางเข้า-ออกสำหรับรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

รถยนต์[แก้]

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีเส้นทางเข้าออกสำหรับรถยนต์อยู่ 5 เส้นทาง ซึ่งรถแท็กซี่ รถโดยสารขนส่งมวลชนกรุงเทพ และรถโดยสารแอร์พอร์ตเอกซ์เพรส ใช้เพื่อการคมนาคมด้วย โดยทางเข้าหลักคือ เส้นทางจากทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (ถนนกรุงเทพมหานคร-ชลบุรี) อีกเส้นทางหนึ่งสามารถเข้าได้จากทางด่วนบางนา-บางปะกง

รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ[แก้]

ทางเข้าออกท่าอากาศยานเส้นทางสุดท้าย เป็นเส้นทางสำหรับรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะทาง 28.6 กิโลเมตร โดยใช้รถไฟฟ้าความเร็วสูงแบบทางคู่ ยกระดับขนานไปตามแนวเส้นทางรถไฟทางไกลสายตะวันออก มีสถานีรายทางจำนวน 8 สถานี ได้แก่สถานีพญาไท, สถานีราชปรารภ, สถานีมักกะสัน (อโศก), สถานีรามคำแหง, สถานีหัวหมาก, สถานีบ้านทับช้าง, สถานีลาดกระบัง และจะตีโค้งแล้วลดระดับลงไปยังอุโมงค์ใต้ดิน เพื่อเข้าสู่สถานีสุวรรณภูมิ ซึ่งตั้งอยู่บริเวณชั้นใต้ดินของอาคารผู้โดยสาร
โครงการรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จะเปิดเดินรถในสองรูปแบบ คือรถไฟฟ้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (City Line) ตัวรถคาดสีน้ำเงิน คิดค่าโดยสายเริ่มต้นที่ 15 บาท สูงสุด 45 บาท ตามระยะทาง ให้บริการจากสถานีจากสถานีพญาไท (เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าบีทีเอสที่สถานีนี้) ราชปรารภ สถานีขนส่งผู้โดยสารท่าอากาศยานในเมือง (City Air Terminal) หรือ สถานีรถไฟฟ้ามักกะสัน (เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานครที่สถานีนี้) รามคำแหง หัวหมาก บ้านทับช้าง ลาดกระบัง จนถึงสถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยจะรับ/ส่งผู้โดยสารในทุกๆ สถานีตลอดรายทาง และในรูปแบบรถไฟฟ้าด่วนท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Express) ตัวรถคาดสีแดง คิดค่าโดยสารเที่ยวละ 150 บาท/คน วิ่งตรงจากสถานีขนส่งผู้โดยสารท่าอากาศยานในเมือง (City Air Terminal) หรือ สถานีรถไฟฟ้ามักกะสันถึงท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ด้วยความเร็ว 160 Km/h โดยไม่แวะที่สถานีใด ซึ่งจะใช้เวลาเดินทางประมาณ 15 นาทีต่อเที่ยว
รถไฟฟ้าทั้งสองสายจะวิ่งอยู่บนทางยกระดับคู่เส้นเดียวกัน โดยจะมีการสับหลีกและควบคุมการเดินรถด้วยระบบคอมพิวเตอร์ให้ระบบรถด่วนสามารถวิ่งได้ต่อเนื่องด้วยความเร็วสูงตรงสู่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2553 ได้เริ่มทดสอบการให้บริการแล้วและคาดว่าจะเปิดให้บริการเชิงพาณิชย์ในวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2553

รถโดยสารองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ[แก้]

รถโดยสารปรับอากาศขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ที่เดินทางเข้าสู่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ มีทั้งสิ้น 1 เส้นทาง โดยคิดค่าบริการ 33 บาท โดยอีก 2 เส้นทางนั้นเดินรถโดยรถเอกชนร่วมบริการ โดยคิดค่าบริการ 34 บาท เส้นทางทั้งหมดประกอบด้วย:
สายที่จุดหมายเส้นทาง
554
(สีชมพู)
รังสิตฟิวเจอร์พาร์ครังสิต - อนุสรณ์สถานแห่งชาติ - ดอนเมือง - หลักสี่ - ราชภัฏพระนคร - วงเวียนบางเขน - เซ็นทรัลรามอินทรา - กม.8 - ร.พ.สินแพทย์ - ทางด่วน - วงแหวนฯตะวันออก - มอเตอร์เวย์ – สุวรรณภูมิ
555
(สีม่วงเดิม)
รังสิตฟิวเจอร์พาร์ครังสิต - อนุสรณ์สถานแห่งชาติ - ดอนเมือง - หลักสี่ - ม.เกษตร - วัดเสมียนนารี - หอวัง - ม.เซนต์จอห์น - สนามกีฬากองทัพบก - ม.หอการค้าไทย - ดินแดง - โบสถ์แม่พระฟาติมา - พระราม 9 - ทางด่วน - มอเตอร์เวย์ – สุวรรณภูมิ
558เซ็นทรัลพระราม2เซ็นทรัลพระราม 2 - บางมด - บางปะกอก - วัดสน - ทางด่วน - บางนา - เซ็นทรัลบางนา - วัดศรีเอี่ยม - กิ่งแก้ว – สุวรรณภูมิ

ชัตเติ้ลบัส[แก้]

รถ Shuttle Bus ให้บริการฟรีสำหรับผู้โดยสารทุกคนที่ต้องการเดินทางระหว่างสนามบิน โดยให้บริการในเส้นทาง สุวรรณภูมิ-ดอนเมือง เวลาที่ให้บริการตั้งแต่ 05.00-24.00 น.

รถโดยสารแอร์พอร์ตเอกซ์เพรส[แก้]

รถโดยสารแอร์พอร์ตเอกซ์เพรสเป็นรถโดยสารที่บริการระหว่างท่าอากาศยานสุวรรณภูมิกับจุดหมายในเขตตัวเมืองกรุงเทพมหานคร บริการในราคา 150 บาทตลอดเส้นทาง มีบริการทั้งหมด 4 เส้นทาง ซึ่งสามารถใช้บริการได้ที่ชั้นหนึ่งของอาคารผู้โดยสาร เส้นทางทั้งหมดของรถโดยสารแอร์พอร์ตเอกซ์เพรสประกอบด้วย:
สายที่จุดหมายถนนที่ผ่าน
ขาไป (ออกจากท่าอากาศยาน)
AE1สีลมถนนบางนา-บางปะกง ทางพิเศษเฉลิมมหานคร ถนนเพชรบุรี ถนนราชดำริ ถนนพระรามที่ 4 ถนนสุรวงศ์ ถนนเลียบใต้ทางพิเศษศรีรัช
AE2บางลำพูถนนบางนา-บางปะกง ทางพิเศษเฉลิมมหานคร ถนนเพชรบุรี ถนนหลานหลวง ถนนราชดำเนินกลาง ถนนราชดำเนินใน ถนนหน้าพระลาน ถนนหน้าพระธาตุ ถนนราชินี ถนนพระอาทิตย์ ถนนพระสุเมรุ ถนนจักรพงษ์ ผ่านถนนข้าวสาร
AE3ถนนวิทยุถนนบางนา-บางปะกง ถนนสุขุมวิท ถนนเพลินจิต ถนนวิทยุถนนพระรามที่ 4 ถนนราชดำริ ถนนเพชรบุรี ถนนชิดลม
สุขุมวิท 3ถนนบางนา-บางปะกง ถนนสุขุมวิท ถนนเพลินจิต ถนนราชดำริ ถนนเพชรบุรี
AE4หัวลำโพงถนนบางนา-บางปะกง ทางพิเศษเฉลิมมหานคร ทางพิเศษศรีรัช ถนนพญาไท ถนนพระรามที่ 4
ขากลับ (เข้าสู่ท่าอากาศยาน)
AE1ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิถนนสีลม ถนนราชดำริ ถนนราชปรารภ ถนนนิคมมักกะสัน ถนนเพชรบุรี ทางด่วนเพชรบุรี
AE2ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิถนนจักรพงษ์ ถนนราชดำเนินกลาง
  • ปัจจุบัน ได้ยกเลิกการให้บริการแล้ว

เหตุการณ์ที่สำคัญ[แก้]

เวลาประมาณ 14.45 น. วันอังคารที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยประมาณ 5,000 คน เดินทางด้วยรถยนต์ส่วนตัวเข้าสู่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเพื่อกดดันให้นายกรัฐมนตรีสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ลาออกจากตำแหน่ง ก่อนที่กลุ่มพันธมิตรจะเข้าถึงตัวอาคาร PTC (Passenger Terminal Complex) มีการสกัดกั้นของทางเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยของท่าอากาศยานและเจ้าหน้าที่ตำรวจประมาณ 200 - 300 นาย แต่เนื่องจากเจ้าหน้าที่ต้านทานผู้ชุมนุมไม่ไหวได้ถอยร่นมาเรื่อยๆ จนเวลาประมาณ 19.30 น. กลุ่มผู้ชุมนุมก็ต้านเจ้าหน้าที่จนถึงตัวอาคารและทำการชุมนุมอยู่ด้านนอกอาคารผู้โดยสาร และผู้ชุมนุมทยอยเดินทางเข้ามาสมทบมากขึ้นประมาณ 80,000 คน
เช้าของวันพุธที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิประกาศหยุดทำการบิน เพื่อความปลอดภัยของผู้โดยสารและเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงาน เวลา 21:00 นาฬิกา วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม แถลงการณ์ประกาศใช้พระราชกำหนดบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ในเขตพื้นที่ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานดอนเมือง ผ่านสถานีโทรทัศน์เอ็นบีที
จากเหตุการณ์ตั้งแต่วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 เป็นต้นมาทำให้การเดินทางทางอากาศไปสู่ท่าอากาศยานนานาชาตือื่นต้องหยุดลง ทำให้สายการบินที่มีมีกำหนดลงจอด ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิต้องไปลงจอด ณ ท่าอากาศยานอู่ตะเภาแทน ประกอบกับนักท่องเที่ยวติดค้างในประเทศไทยเป็นจำนวนมากทำให้สายการบินต่างต้องใช้ท่าอากาศยานอู่ตะเภาเพื่อขนส่งผู้โดยสารที่ติดค้างแทน แต่เนื่องจากท่าอากาศยานอู่ตะเภารองรับปริมาณผู้โดยสารได้จำนวนจำกัดด้วยเรื่องของพื่นที่และอุปกรณ์ที่จะรองรับได้ สายการบินต่างๆ และบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) ได้ดำเนินการเพื่อรองรับการ Check In ขึ้นที่ BITEC บางนา ผ่านระบบของ Airline Host โดยตรง โดยเชื่อมต่อเครือข่ายของ True ระบบได้เริ่มติดตั้งที่ไบเทคบางนาเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 คาดว่าจะเริ่มบริการให้กับผู้โดยสารได้ในวันจันทร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2551 เป็นต้นไป สายการบินที่จะไปบริการแก่ผู้โดยสารที่ไบเทค ดังนี้ สายการบินไทย, สายการบินอีวีเอแอร์ไลน์, สายการบินกรุงเทพ เป็นต้น
วันพุธที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2551 เวลา 10.00 น. กลุ่มพันธมิตรประชาชนประชาธิปไตย ทยอยสลายการชุมนุมหลังจากได้ประกาศเลิกชุมนุมเมื่อวันอังคารที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ไปแล้ว
วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 กลุ่มชายฉกรรจ์ชุดดำเกือบ 200 คน กระจายอยู่บริเวณอาคารจอดรถโซน 2 สนามบินสุวรรณภูมิ เหตุจากขัดแย้งภายในของหุ้นส่วนบริษัทได้รับอนุญาตจัดการลานจอดรถในอาคาร ทำให้สร้างความตื่นตระหนก ให้แก่ผู้ใช้บริการ[59]
วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เปิดสถานีตำรวจภูธรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นวันแรก มีเจ้าหน้าที่ 291 ราย[60]
วันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2555 เกิดเหตุระบบเรดาห์ของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยานดอนเมืองใช้การไม่ได้สาเหตุจากระบบไฟฟ้าขัดข้องส่งผลให้เครื่องบินต้องย้ายไปลงจอดที่ท่าอากาศยานอู่ตะเภอและท่าอากาศยานภูเก็ตเป็นการชั่วคราว[61]
วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 เวลาประมาณ 20.30 น. รันเวย์ด้านตะวันตก 19R ของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิได้พบร่องรอยยุบตัวของยางมะตอยบริเวณกึ่งกลางรันเวย์จุดร่องล้อที่เครื่องบินลง กว้าง 60 ซม. ยาว 60 ซม. ลึก 5 ซม.เครื่องบินต้องย้ายการลงจอดไปที่ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานอู่ตะเภาและท่าอากาศยานดอนเมือง[62]
วันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2556 เวลาประมาณ 23.28 น. รันเวย์ ฝั่งตะวันออก 19L ของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิได้รับความเสียหายเนื่องจากเกิดอุบัติเหตุ สายการบินไทย TG679 ที่มาจากเมืองกวางโจว ไถลออกนอกรันเวย์สนามบินทำให้ต้องปิดซ่อมเร่งด่วน[63]

ท่าอากาศยานใกล้เคียง[แก้]

鄰近主要機場
年旅客量40.50百萬 (2009)BKK
年旅客量12.50百萬 (2009)SGN (716 กม.)
年旅客量7.83百萬 (2009)HAN (992 กม.)
年旅客量5.78百萬 (2009)HKT (671 กม.)
年旅客量3.33百萬 (2009)PEN (929 กม.)
年旅客量3.08百萬 (2009)CNX (594 กม.)
年旅客量3.08百萬 (2009)CEI (702 กม.)
年旅客量1.94百萬 (2009)JHG (918 กม.)
年旅客量1.59百萬 (2009)PNH (504 กม.)
年旅客量1.39百萬 (2009)HDY (747 กม.)
年旅客量1.26百萬 (2009)REP (333 กม.)
年旅客量1.20百萬 (2009)UTP (116 กม.)
年旅客量1.20百萬 (2009)RGN (583 กม.)
年旅客量1.20百萬 (2009)MDL (1012 กม.)
年旅客量3.33百萬 (2009)LGK (801 กม.)
年旅客量3.33百萬 (2009)KNO (1170 กม.)
年旅客量3.33百萬 (2009)VTE (516 กม.)
年旅客量3.33百萬 (2009)LPQ (706 กม.)

การลงนามสัญญาสนามบินพี่น้อง[แก้]

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด(มหาชน) ได้ลงนามบันทึกสัญญาการทำงานร่วมกันในการลงนามสนามบินพี่น้องกับท่าอากาศยานทั้งหมด 6แห่งท่าอากาศยานมิวนิก สหพันธรัฐเยอรมนี ท่าอากาศยานอินชอน สาธารณรัฐเกาหลี ท่าอากาศยานนาริตะ ประเทศญี่ปุ่น ท่าอากาศยานปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน และท่าอากาศยานออสติน สหรัฐอเมริกา ท่าอากาศยานหลวงพระบาง[64]

อ้างอิง[แก้]

  1. Jump up Airport information for VTBS at World Aero Data. Data current as of October 2006.. Source: DAFIF.
  2. Jump up Airport information for BKK at Great Circle Mapper. Source: DAFIF (effective Oct. 2006).
  3. Jump up ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ. ประวัติความเป็นมาของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ. สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2553.
  4. Jump up ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ. ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ แผ่นดินทอง ความภูมิใจของคนไทย. สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2553.
  5. Jump up to: 5.0 5.1 Suvarnabhumi Airport. About Suvarnabhumi Airport. สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2553.
  6. Jump up Suvarnabhumi Airport: Thai Auspicious Name (อังกฤษ)
  7. Jump up ศิริโชค เลิศยะโส. "จากหนองงูเห่าสู่สุวรรณภูมิ". NATIONAL GEOGRAPHIC ฉบับภาษาไทย. (ปีที่ 6, สิงหาคม 2549). ISSN 1513-9840. หน้า 81.
  8. Jump up ศิริโชค เลิศยะโส. "จากหนองงูเห่าสู่สุวรรณภูมิ". NATIONAL GEOGRAPHIC ฉบับภาษาไทย. (ปีที่ 6, สิงหาคม 2549). ISSN 1513-9840. หน้า 82.
  9. Jump up ศิริโชค เลิศยะโส. "จากหนองงูเห่าสู่สุวรรณภูมิ". NATIONAL GEOGRAPHIC ฉบับภาษาไทย. (ปีที่ 6, สิงหาคม 2549). ISSN 1513-9840. หน้า 83.
  10. Jump up to: 10.0 10.1 ศิริโชค เลิศยะโส. "จากหนองงูเห่าสู่สุวรรณภูมิ". NATIONAL GEOGRAPHIC ฉบับภาษาไทย. (ปีที่ 6, สิงหาคม 2549). ISSN 1513-9840. หน้า 87.
  11. Jump up Architectural Record, ฉบับสิงหาคม 2550, หน้า 110
  12. Jump up ฝ่ายประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ สำนักโฆษก: ข่าวที่ 11 / 09 – 5 วันที่ 9 พฤศจิกายน 2544
  13. Jump up "เพ้ง" รับหลังคา "เทอร์มินอล" รั่ว อ้างเป็นเรื่องปกติสนามบินใหม่" นสพ.มติชน 19 ก.ย. 2549
  14. Jump up Bangkokpost newspaper (20 October 2005) Dream city called flood nightmare : Environmental chaos will ensue - Apirak
  15. Jump up นสพ.เดลินิวส์ 11 กย.49 ผู้โดยสาร 'ป่วนแน่!' 'แท็กซี่' เซ็ง! 'ไม่ไปสุวรรณภูมิ??'
  16. Jump up to: 16.0 16.1 สุวรรณภูมิในมุมมองวิศวกรไทย อย่าหลงระเริงกับความอลังการ มองไปข้างหน้า...ก้าวสู่ฮับให้ได้ดั่งฝัน, นสพ.มติชน 8 ก.ย. 2549
  17. Jump up Richard Lloyd Parry, "Poo Ming – a blue ghost who haunts $4bn airport", The Times, 2006-09-27
  18. Jump up ThaiDay, "THAI discounts tickets for historic test flights", July 1, 2006.
  19. Jump up "PM Thaksin says Suvarnabhumi Airport ready in two months", MCOT, 29 July 2006.
  20. Jump up USA Today, "Bangkok's new airport opens to first commercial flights", 15 September 2006.
  21. Jump up http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1338372958&grpid=&catid=05&subcatid=0504
  22. Jump up http://www.thairecent.com/Local/2011/885097/
  23. Jump up http://www.thaipost.net/news/140612/58217
  24. Jump up สุวิทย์ สุทธิจิระพันธ์. วารสารเศรษฐกิจและสังคม มกราคม – กุมภาพันธ์ 2547. ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ : ท่าอากาศยานที่ทันสมัยที่สุดแห่งใหม่ของโลก
  25. Jump up Bangkok Post, New Bangkok Airport - Now Aiming For July 2006 Opening, 2005
  26. Jump up Suvarnabhumi Airport: About Suvarnabhumi
  27. Jump up MCOT English. AoT to spend Bt800 billion to upgrade Suvarnabhumi Airport. เรียกดู 18-10-09
  28. Jump up Suvarnabhuni Airport Fact Sheet
  29. Jump up Suvarnabhumi Airport: Thai Torch (อังกฤษ)
  30. Jump up Peter Walker and Partners (2005) Landscape Architecture : Defining the Craft. ORO Edition
  31. Jump up "Passenger Traffic 2010 FINAL". Airports Council International. 2012-08-01. สืบค้นเมื่อ 2012-04-29. 
  32. Jump up http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/life-style/lifestyle/20110207/375574/%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2---%E0%B8%95%E0%B8%A1.%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%A7%E0%B8%81.html
  33. Jump up 2012 Passenger Traffic (Preliminary)
  34. Jump up http://www.aerothai.co.th/thai/stat_bkk_th.php
  35. Jump up Suvarnabhuni Airport: World Records
  36. Jump up "Dubai airport passengers top 37m". The National. 2009. สืบค้นเมื่อ 2009-01-30. 
  37. Jump up ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ. รางวัลและเกียรติยศของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ. สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2553
  38. Jump up Airport Council International. ACI Airport Service Quality Awards 2008. p.3 สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2553.
  39. Jump up http://www.airports.org/cda/aci_common/display/main/aci_content07_banners.jsp?zn=aci&cp=1-7-46%5E41035_725_2__
  40. Jump up http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9560000101640
  41. Jump up http://hilight.kapook.com/view/70606
  42. Jump up http://www.mcot.net/site/content?id=50dd1727150ba0931d00036b
  43. Jump up http://www.crescentrating.com/crahft-ranking-2013/item/3096-crescentrating-ranking-2013-top-10-halal-friendly-airports.html
  44. Jump up to: 44.0 44.1 44.2 44.3 ข่าว"ธีระ"จี้ทอท.แก้"แท็กซี่เวย์"ร้าว! อัด40ล.เพิ่มห้องน้ำสุวรรณภูมิ มติชน 26 ตค. 49/
  45. Jump up ‘สุวรรณภูมิ’ ความภูมิใจหรือ... (1) ความอลังการบนความไม่พร้อม นสพ.เดลินิวส์, 17 ตุลาคม พ.ศ. 2549
  46. Jump up บินถูกรุกกลับดอนเมือง ชี้ลงทุนสุวรรณภูมิไม่คุ้ม นสพ.มติชน, 22 ตุลาคม พ.ศ. 2549
  47. Jump up บทความ‘สุวรรณภูมิ’ ความภูมิใจหรือ.. (1) ความอลังการบนความไม่พร้อม, นสพ.เดลินิวส์, 17 ตุลาคม พ.ศ. 2549
  48. Jump up เปิดสนามบินดอนเมืองดีเดย์15มี.ค.50, นสพ.ผู้จัดการรายวัน 12 มกราคม พ.ศ. 2550
  49. Jump up นสพ.ข่าวสด, 2 มกราคม พ.ศ. 2549
  50. Jump up เว็บบอร์ดมูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย
  51. Jump up ข่าว‘สุวรรณภูมิ’ ความภูมิใจหรือ... (2) ปัญหาคาร์โก...ต้นตออยู่ที่ใคร (จบ) นสพ.เดลินิวส์, 18 ตุลาคม พ.ศ. 2549
  52. Jump up 'สุวรรณภูมิ'ป่วน! สนามบินทรุด-สั่งปิดปรับปรุง, นสพ.เดลินิวส์, 25 ตุลาคม พ.ศ. 2549
  53. Jump up "ธีระ"จี้ทอท.แก้"แท็กซี่เวย์"ร้าว! อัด40ล.เพิ่มห้องน้ำสุวรรณภูมิ, นสพ.มติชน, 26 ตุลาคม พ.ศ. 2549
  54. Jump up เว็บไซต์คณะทำงานชุดที่ 1 : แก้ไขปัญหาผู้โดยสาร พนักงานและประชาชน ของบอร์ดทอท.
  55. Jump up to: 55.0 55.1 55.2 "ปชป."ร่วมขย่ม"สุวรรณภูมิ"ซ้ำ แฉอาคารสินค้า-ผู้โดยสารทรุด ท่อประปาแตกน้ำท่วมกระเป๋า!, นสพ.มติชน, 28 มกราคม พ.ศ. 2550
  56. Jump up บทความปฏิบัติเช็คบิล "คิง เพาเวอร์" อย่ารุกเพลินจนลืมระวังหลัง, นสพ.มติชน, 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550
  57. Jump up ข่าว"เอ็มเจทีเอ"โต้ออกแบบสุวรรณภูมิ "ผู้รับเหมา-เจบิค"เซ็นรับรองแบบ, นสพ.มติชน, 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550
  58. Jump up http://news.thaipbs.or.th/content/%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87-%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-5%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%9F%E0%B8%AA-2
  59. Jump up http://thairecent.com/Crime/2010/725569/
  60. Jump up http://www.thairath.co.th/content/region/179543
  61. Jump up http://www.komchadluek.net/detail/20120622/133406/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%8A%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99.html
  62. Jump up http://www.manager.co.th/business/viewnews.aspx?NewsID=9550000082768
  63. Jump up http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1378687039&grpid=01&catid=&subcatid=
  64. Jump up http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9550000097633

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

พิกัดภูมิศาสตร์: 13°41′13″N 100°45′05″E / 13.68702°N 100.751495°E / 13.68702; 100.751495

2 ความคิดเห็น:

  1. อุตสาหกรรมครัวเรือน คืออุตสาหกรรมการผลิตง่ายๆ เล็กๆ มักทำกันในครอบครัวหรือหมู่บ้าน บริหารงานและจัดทำโดย ดร.สมัย เหมมั่น ผู้ทรงคุณวุฒิจังหวัดนครปฐม เชียวชาญด้าน อสังหาฯและวิศวะกรรม

    ตอบลบ
  2. โครงการ อุตสาหกรรม เจอาร์ แฟคตอรี่ ถนนพระราม 2 โดย ดร.สมัย เหมมั่น โครงการ ขนาด 150 ไร่ จำหน่ายที่ดิน เพื่องานอุตสาหกรรม

    ตอบลบ